เชิงอรรถและอ้างอิง ของ Lateral Intraparietal Cortex

  1. Bear, Mark, Barry Connors, and Michael Paradiso. (2002). Neuroscience: Exploring the Brain. Lippincott Williams & Wilkins. pp. 757–758.CS1 maint: Multiple names: authors list (link)
  2. Saccade หมายถึงการเคลื่อนไหวอย่างเร็ว ๆ ของตา ของศีรษะ หรือของส่วนอื่นในร่างกาย หรือของอุปกรณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง และยังหมายถึงการเปลี่ยนความถี่อย่างรวดเร็วของสัญญาณส่ง หรือความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วอย่างอื่น ๆ ได้อีกด้วย Saccades (พหูพจน์) เป็นการเคลื่อนไหวตาทั้งสองข้างไปยังทิศทางเดียวกันอย่างรวดเร็ว
  3. 1 2 หน่วยความจำใช้งาน (working memory) คือระบบความจำที่รองรับข้อมูลชั่วคราวซึ่งสมองใช้ในการประมวลผล เช่น จะจำเบอร์โทรศัพท์อย่างชั่วคราวได้ก็จะต้องใช้ระบบนี้
  4. Gnadt, J. W., & Andersen, R. A. (1988) . Memory related motor planning activity in posterior parietal cortex of macaque. Experimental Brain Research, 70 (1), 216-220.
  5. Pesaran, B., Pezaris, J. S., Sahani, M., Mitra, P. P., & Andersen, R. A. (2002) . Temporal structure in neuronal activity during working memory in macaque parietal cortex. Nature neuroscience, 5 (8), 805-811.
  6. two-alternative forced choice (2AFC) เป็นวิธีการทดสอบทางจิตฟิสิกส์ (psychophysics) เพื่อให้เกิดการตอบสนองต่อตัวกระตุ้นในสัตว์ทดลอง กล่าวโดยเฉพาะก็คือ 2AFC มักจะใช้ในการทดสอบความรวดเร็วและความแม่นยำของการเลือกตัวกระตุ้นระหว่างตัวกระตุ้น 2 ตัว มีขั้นตอนพื้นฐานคือ 1. แสดงตัวกระตุ้น 2 ตัวพร้อม ๆ กันเช่นตัวกระตุ้นทางตา 2. ทิ้งช่วงระยะเวลาหนึ่งให้กับสัตว์ทดลองในการตอบสนอง 3. สัตว์ทดลองตอบสนองด้วยการเลือกตัวกระตุ้นตัวใดตัวหนึ่ง
  7. Platt, Michael L. (1999-07-15). "Neural correlates of decision variables in parietal cortex". Nature. 400 (6741): 233–238. doi:10.1038/22268. ISSN 0028-0836. สืบค้นเมื่อ 2012-06-09. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
บทความเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ โครงการวิกิกายวิภาคศาสตร์